เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตน ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสแก่พสกนิกรชาวไทยมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 (ภายหลังวิกฤติเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540) เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขเศรษฐกิจของประเทศไทย ให้ดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในทางการเมืองของไทยแล้ว เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทสำคัญในการสถาปนาอำนาจนำด้านอุดมการณ์ โดยเฉพาะอุดมการณ์กษัตริย์นิยมในสังคมไทย ในฐานะ "กษัตริย์นักพัฒนา" ซึ่งส่งผลต่อการเติบโตของอุดมการณ์เศรษฐกิจพอเพียง สิ่งเหล่านี้ถูกตอกย้ำและผลิตซ้ำโดยสถาบันทางสังคมต่าง ๆ เช่น สถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการ สื่อมวลชน ส่งผลให้เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการกำหนดอุดมการณ์การพัฒนาของประเทศ และการพยายามตีความเพื่อสร้างความชอบธรรมในการพัฒนาโดยปัญญาชนอย่าง ประเวศ วะสี, เสน่ห์ จามริก, อภิชัย พันธเสน และ ฉัตรทิพย์ นาถสุภา ซึ่งเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับอุดมการณ์วัฒนธรรมชุมชน ที่ถูกเสนอมาก่อนหน้าโดยองค์กรพัฒนาเอกชนจำนวนหนึ่งตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520 ก็ได้ช่วยให้อุดมการณ์เศรษฐกิจพอเพียงขยายครอบคลุมส่วนต่าง ๆ ของสังคม
การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ถูกใช้เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย ซึ่งบรรจุอยู่ใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า "สังคมสีเขียว" ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 นี้จะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยังคงให้ความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์ หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท
แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยังถูกบรรจุในรัฐธรรมนูญของไทย เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550ในส่วนที่ 3 แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา 78 (1) บริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคง ของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดำเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคำนึงถึง ผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพรวมเป็นสำคัญ
ปัญหาหนึ่งของการนำปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ก็คือ ผู้นำไปใช้อาจยังไม่ได้ศึกษาหรือไม่มีความรู้เพียงพอ ทั้งยังไม่กล้าวิเคราะห์หรือตั้งคำถามต่อตัวปรัชญา เนื่องจากเป็นปรัชญาของพระมหากษัตริย์ สมเกียรติ อ่อนวิมล เรียกสิ่งนี้ว่า "วิกฤตเศรษฐกิจพอเพียง" โดยสมเกียรติมีความเห็นว่า ผู้นำไปใช้อาจไม่รู้ว่าปรัชญานี้แท้จริงคืออะไร ซึ่งอาจเพราะสับสนว่า เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่นั้นเป็นเรื่องเดียวกัน ทำให้เข้าใจผิดว่า เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงการปฏิเสธอุตสาหกรรมแล้วกลับไปสู่เกษตรกรรม นอกจากนี้ยังมีความไม่รู้ว่าจะนำปรัชญานี้ไปใช้ทำอะไร กลายเป็นว่าผู้นำสังคมทุกคน รวมถึงนักการเมืองและรัฐบาล โดยวิจารณ์โครงการในยุครัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ที่ใช้คำว่า "เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นข้ออ้างในการทำกิจกรรมใด ๆ เพื่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีว่าได้สนองพระราชดำรัส หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ "เศรษฐกิจพอเพียง" ถูกใช้เพื่อเป็นเครื่องมือเพื่อประโยชน์ส่วนตัว และได้วิจารณ์ว่ารัฐบาลยังไม่ได้ใช้อะไรเลยเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง แต่พูดควบคู่กับการเอาทุนนิยม 100 เปอร์เซ็นต์ลงไป ซึ่งรัฐบาลควรต้องปรับทิศทางใหม่ เพราะรัฐบาลไม่ได้เอาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาและเป็นนโยบายทางวัฒนธรรมและสังคม สมเกียรติยังมีความเห็นด้วยว่าความไม่เข้าใจนี้ อาจเกิดจากการสับสนว่าเศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่นั้นเป็นเรื่องเดียวกัน ทำให้มีความเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงการปฏิเสธอุตสาหกรรมแล้วกลับไปสู่เกษตรกรรม ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด.
สิ่งที่สมเกียรติเสนอนี้ สอดคล้องกับที่ ชนิดา ชิตย์บัณฑิตย์ เสนอเช่นกันว่า เศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายที่ลื่นไหลไปมา ไม่ผูกติดกับรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง อาจกล่าวได้ว่ามีนัยยะทางการเมืองแฝงอยู่ในการนำเสนอเสมอ ดังนั้น ถ้าพิจารณาในแง่อุดมการณ์ จำเป็นต้องดูบริบทของกลุ่มที่นำมาใช้หรือตีความ ว่าสร้างความชอบธรรมให้กับการพัฒนารูปแบบใด หรือมีนัยยะทางการเมืองอะไรอยู่เบื้องหลัง
นายสุรเกียรติ เสถียรไทย ในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศ ได้กล่าวเมื่อวันที่ 24 พศจิกายน พ.ศ. 2547 ในการประชุมสุดยอด The Francophonie Ouagadougou ครั้งที่ 10 ที่ Burkina Faso ว่า ประเทศไทยได้ยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ควบคู่กับ "การพัฒนาแบบยั่งยืน" ในการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านการเกษตรกรรม เศรษฐกิจ และการแข่งขัน ซึ่งเป็นการสอดคล้องเป้าหมายแนวทางของนานาชาติในประชาคมโลก โดยยกตัวอย่างการแก้ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ เมื่อปี 2540 ซึ่งเมื่อยึดหลักปรัชญาในการแก้ปัญหาสามารถทำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของไทยโตได้ถึงร้อยละ 6.7
แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยังถูกบรรจุในรัฐธรรมนูญของไทย เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550ในส่วนที่ 3 แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา 78 (1) บริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคง ของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดำเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคำนึงถึง ผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพรวมเป็นสำคัญ
ปัญหาหนึ่งของการนำปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ก็คือ ผู้นำไปใช้อาจยังไม่ได้ศึกษาหรือไม่มีความรู้เพียงพอ ทั้งยังไม่กล้าวิเคราะห์หรือตั้งคำถามต่อตัวปรัชญา เนื่องจากเป็นปรัชญาของพระมหากษัตริย์ สมเกียรติ อ่อนวิมล เรียกสิ่งนี้ว่า "วิกฤตเศรษฐกิจพอเพียง" โดยสมเกียรติมีความเห็นว่า ผู้นำไปใช้อาจไม่รู้ว่าปรัชญานี้แท้จริงคืออะไร ซึ่งอาจเพราะสับสนว่า เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่นั้นเป็นเรื่องเดียวกัน ทำให้เข้าใจผิดว่า เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงการปฏิเสธอุตสาหกรรมแล้วกลับไปสู่เกษตรกรรม นอกจากนี้ยังมีความไม่รู้ว่าจะนำปรัชญานี้ไปใช้ทำอะไร กลายเป็นว่าผู้นำสังคมทุกคน รวมถึงนักการเมืองและรัฐบาล โดยวิจารณ์โครงการในยุครัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ที่ใช้คำว่า "เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นข้ออ้างในการทำกิจกรรมใด ๆ เพื่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีว่าได้สนองพระราชดำรัส หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ "เศรษฐกิจพอเพียง" ถูกใช้เพื่อเป็นเครื่องมือเพื่อประโยชน์ส่วนตัว และได้วิจารณ์ว่ารัฐบาลยังไม่ได้ใช้อะไรเลยเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง แต่พูดควบคู่กับการเอาทุนนิยม 100 เปอร์เซ็นต์ลงไป ซึ่งรัฐบาลควรต้องปรับทิศทางใหม่ เพราะรัฐบาลไม่ได้เอาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาและเป็นนโยบายทางวัฒนธรรมและสังคม สมเกียรติยังมีความเห็นด้วยว่าความไม่เข้าใจนี้ อาจเกิดจากการสับสนว่าเศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่นั้นเป็นเรื่องเดียวกัน ทำให้มีความเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงการปฏิเสธอุตสาหกรรมแล้วกลับไปสู่เกษตรกรรม ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด.
สิ่งที่สมเกียรติเสนอนี้ สอดคล้องกับที่ ชนิดา ชิตย์บัณฑิตย์ เสนอเช่นกันว่า เศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายที่ลื่นไหลไปมา ไม่ผูกติดกับรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง อาจกล่าวได้ว่ามีนัยยะทางการเมืองแฝงอยู่ในการนำเสนอเสมอ ดังนั้น ถ้าพิจารณาในแง่อุดมการณ์ จำเป็นต้องดูบริบทของกลุ่มที่นำมาใช้หรือตีความ ว่าสร้างความชอบธรรมให้กับการพัฒนารูปแบบใด หรือมีนัยยะทางการเมืองอะไรอยู่เบื้องหลัง
นายสุรเกียรติ เสถียรไทย ในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศ ได้กล่าวเมื่อวันที่ 24 พศจิกายน พ.ศ. 2547 ในการประชุมสุดยอด The Francophonie Ouagadougou ครั้งที่ 10 ที่ Burkina Faso ว่า ประเทศไทยได้ยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ควบคู่กับ "การพัฒนาแบบยั่งยืน" ในการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านการเกษตรกรรม เศรษฐกิจ และการแข่งขัน ซึ่งเป็นการสอดคล้องเป้าหมายแนวทางของนานาชาติในประชาคมโลก โดยยกตัวอย่างการแก้ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ เมื่อปี 2540 ซึ่งเมื่อยึดหลักปรัชญาในการแก้ปัญหาสามารถทำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของไทยโตได้ถึงร้อยละ 6.7
การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้กับเทคโนโลยี
..................................................................................................................
โทรศัพท์มือถือ
โทรศัพท์มือถือ
พอประมาณ
-ใช้ในการสื่อสารเมื่อจำเป็น
-ไม่ใช้ในการเล่นเกม ฟังเพลง
-คุยให้พอเหมาะเละสมควร
มีเหตุผล
-การใช้โทรศัพท์มือถือก็ต้องคำนึงว่ามีความจำเป็นมากน้อยเพียงใด ถ้าไม่จำเป็นก็ไม่ควรใช้เพราะเป็นการสิ้นเปลืองปัจจัยต่างๆ
ภูมิคุมกัน
-การใชโทรศัพท์มือถือให้ปลอดภัยควรเลือกประเภทและย่ห้อที่รับประกันความปลอดภัยของสินค้า
ความรู้
-การใช้โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันอาจจะเป็นความต้องการความสะดวกสบายแต่ก็ต้องคำนึงถึงค่าใช้จ่ายที่ตามมาเมื่อต้องการที่จะใช้งานเพราะการใช้งานในแต่ละครั้งต้องใช้ทั้ง ค่าโทร ค่าไฟฟ้าเป็นปัจจัยพื้นฐาน
คุณธรรม
-คุณธรรมในการใช้โทรศัพท์มือถือคือไม่ใช้ในการที่จะทำให้บุคคลอื่นเสียหาย เช่น การถ่ายคลิปวีดีโอ การใช้โทรศัพท์ในการเป็นเครื่องมือกดสัญญาณระเบิด เป็นต้น
-ใช้ในการสื่อสารเมื่อจำเป็น
-ไม่ใช้ในการเล่นเกม ฟังเพลง
-คุยให้พอเหมาะเละสมควร
มีเหตุผล
-การใช้โทรศัพท์มือถือก็ต้องคำนึงว่ามีความจำเป็นมากน้อยเพียงใด ถ้าไม่จำเป็นก็ไม่ควรใช้เพราะเป็นการสิ้นเปลืองปัจจัยต่างๆ
ภูมิคุมกัน
-การใชโทรศัพท์มือถือให้ปลอดภัยควรเลือกประเภทและย่ห้อที่รับประกันความปลอดภัยของสินค้า
ความรู้
-การใช้โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันอาจจะเป็นความต้องการความสะดวกสบายแต่ก็ต้องคำนึงถึงค่าใช้จ่ายที่ตามมาเมื่อต้องการที่จะใช้งานเพราะการใช้งานในแต่ละครั้งต้องใช้ทั้ง ค่าโทร ค่าไฟฟ้าเป็นปัจจัยพื้นฐาน
คุณธรรม
-คุณธรรมในการใช้โทรศัพท์มือถือคือไม่ใช้ในการที่จะทำให้บุคคลอื่นเสียหาย เช่น การถ่ายคลิปวีดีโอ การใช้โทรศัพท์ในการเป็นเครื่องมือกดสัญญาณระเบิด เป็นต้น
เตารีด
พอประมาณ
-การใช้ให้พอประมาณคือใช้ในการรีดผ้าครั้งละหลายๆตัวเพราะจะทำให้ประหยัดไฟฟ้าได้มากกว่าการรีดผ้าครั้งละตัวเดียว และควรรีดผ้าที่จำเป็นเท่านั้น
มีเหตุผล
-เหตุผลในการใช้เตารีดเพราะเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้รับความนิยมใช้มาก โดยใช้ในการรีดผ้าให้เรียบเพื่อเป็นการสร้างบุคลิกภาพภายนอกให้ดูดี ดูเป็นบุคคลที่มีความเรียบร้อย
ภูมิคุ้มกัน
-การใช้เตารีดให้ปลอดภัยไม่ควรใช้รีดเสื้อผ้าที่เปียกเพราะอาจทำให้ไฟดูดและกินไฟมาก ควรเก็บเตารีดไว้ในที่ที่เหมาะสม
ความรู้
1 ใช้เตารีดรีดผ้าครั้งละหลายๆตัว
2 ไม่รีดเสื้อผ้าที่เปียก
3 ควรตรวจสอบสภาพของเตารีดทุกครั้ง
คุณธรรม
1 ไม่ใช้เตารีดในทางที่ไม่ดี เช่น ทำร้ายคนอื่น หรือทางไม่เหมาะสม
2 รีดให้บุคคลในครอบครัวเพื่อความประหยัด
เจ้าของร้าน
วิทยุ
พอประมาณ
-การใช้ให้พอประมาณ ควรใช้ให้เป็นเวลาและพอประมาณกับความต้องการ เพราะเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กินไฟมากเหมือนกัน
มีเหตุผล
-เหตุผลในการใช้ใช้วิทยุที่เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าเพื่อความสะดวกในการรับข่าวสาร สารคดี บันเทิงคดี อีกทั้งให้ความบันเทิง ความเพลิดเพลิน และความรู้ข่าวสารทั้งในอดีต และปัจจุบัน
ภูมิคุ้มกัน
-เตารีดเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ที่สามารถทำให้เกิดอันตรายได้ ดังนั้นการใช้ควรที่จะระมัดระวัง และใช้ด้วยความไม่ประมาท
ความรู้
1 เลือกยี่ห้อที่มีคุณภาพเป็นหลัก
2 เมื่อวิทยุชำรุดควรนำไปซ่อมแต่ถ้านึกว่าค่าซ่อมไม่เหมาะสมก็ควรที่จะซื้อเครื่องใหม่
คุณธรรม
1 ไม่ใช่วิทยุในการทำสิ่งผิดกฎหมาย
2 มีน้ำใจนั่งฟังกันหลายคน สนุกดี
-การใช้ให้พอประมาณ ควรใช้ให้เป็นเวลาและพอประมาณกับความต้องการ เพราะเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กินไฟมากเหมือนกัน
มีเหตุผล
-เหตุผลในการใช้ใช้วิทยุที่เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าเพื่อความสะดวกในการรับข่าวสาร สารคดี บันเทิงคดี อีกทั้งให้ความบันเทิง ความเพลิดเพลิน และความรู้ข่าวสารทั้งในอดีต และปัจจุบัน
ภูมิคุ้มกัน
-เตารีดเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ที่สามารถทำให้เกิดอันตรายได้ ดังนั้นการใช้ควรที่จะระมัดระวัง และใช้ด้วยความไม่ประมาท
ความรู้
1 เลือกยี่ห้อที่มีคุณภาพเป็นหลัก
2 เมื่อวิทยุชำรุดควรนำไปซ่อมแต่ถ้านึกว่าค่าซ่อมไม่เหมาะสมก็ควรที่จะซื้อเครื่องใหม่
คุณธรรม
1 ไม่ใช่วิทยุในการทำสิ่งผิดกฎหมาย
2 มีน้ำใจนั่งฟังกันหลายคน สนุกดี
เครื่องปั่นเอนกประสงค์
พอประมาณ
- ควรใช้เพื่อความจำเป็น หรือการประกอบอาชีพ
มีเหตุผล
- ใช้ปั่นอาหารให้ละเอียด คือ ไม่สมควรใช้ในทางที่ไม่ควร
ภูมิคุ้มกัน
- ใช้อย่างระมัดระวัง เช่น การปั่นอาหารที่เปียกก็ควรระวังเรื่องไฟฟ้า
- เลือกเครื่องปั่นที่คุณภาพ ไม่ใช่เลือกที่ความสวยงาม
- ศึกษาข้อมูลการใช้ให้เข้าใจก่อนเริ่มใช้งาน
ความรู้
1 ถ้าไม่เข้าใจควรศึกษาข้อมูลในคู่มือให้เข้าใจ
2 ศึกษาใบรับประกันให้ดี
คุณธรรม
1 มีน้ำใจแบ่งปันกันหรืออาจปั่นน้ำผลไม้ให้ผ็อื่นได้คลายร้อนกันบ้าง
- ควรใช้เพื่อความจำเป็น หรือการประกอบอาชีพ
มีเหตุผล
- ใช้ปั่นอาหารให้ละเอียด คือ ไม่สมควรใช้ในทางที่ไม่ควร
ภูมิคุ้มกัน
- ใช้อย่างระมัดระวัง เช่น การปั่นอาหารที่เปียกก็ควรระวังเรื่องไฟฟ้า
- เลือกเครื่องปั่นที่คุณภาพ ไม่ใช่เลือกที่ความสวยงาม
- ศึกษาข้อมูลการใช้ให้เข้าใจก่อนเริ่มใช้งาน
ความรู้
1 ถ้าไม่เข้าใจควรศึกษาข้อมูลในคู่มือให้เข้าใจ
2 ศึกษาใบรับประกันให้ดี
คุณธรรม
1 มีน้ำใจแบ่งปันกันหรืออาจปั่นน้ำผลไม้ให้ผ็อื่นได้คลายร้อนกันบ้าง
หม้อหุงข้าวไฟฟ้า
พอประมาณ
1. หุงข้าวแต่ละครั้งให้พอกับจำนวนคนที่จะรับประทาน ถ้าไมมั่นใจให้หุงมากหน่อย ถ้าเหลือค่อยอุ่นรับประทานได้อีกมื้อ
2. ปริมาณข้าวต้องเหมาะสมกับขนาดหม้อ เชน ไม่หุงข้าวน้อยๆในหม้อใหญ่
มีเหตุผล
1. หุงข้าวเมือเวลาจะรับประทานข้าว แต่ถ้าข้าวเหลือจากมื้อทีแล้วก้อไม่จำเป็นต้องหุงอีก
2. ไม่หุงข้าวมากจนเกินไปในแต่ละครั้ง ควรดูให้เหมาะสมกับจำนวนคน
ภูมิคุ้มกัน
1. ก่อนซื้อควรดูลากเบอร์ 5 ประหยัดไฟ
2. สอบถามการรับประกันให้เข้าใจ
3. ดูยี่ห้อที่ดีมีคุณภาพ อย่าเลือกตามกระแส
4. ตรวจสอบสภาพสินค้าก่อนออกจากร้าน
ความรู้
1. ถ้าไมเข้าใจเรืองการใช้ ควรเปิดคู่มือทีมีมาให้
2. อย่าใช้หม้อหุงข้าวในทางทีไม่ถูกต้อง หรือไมควรทำนอกเหนือจากคู่มือการใช้งาน
3. ถ้าหม้อเกิดชำรุดและยังอยู่ในช่วงการรับประกัน ควรไปติดต่อร้านที่เราซื้อมา ทางร้านจะรับผิดชอบ
คุณธรรม
1. หุงข้าวเผื่อคนทั้งบ้านและคนในครอบครัว ถ้าเหลือคอยนำมาอุนรับประทานอีกมื้อ
1. หุงข้าวแต่ละครั้งให้พอกับจำนวนคนที่จะรับประทาน ถ้าไมมั่นใจให้หุงมากหน่อย ถ้าเหลือค่อยอุ่นรับประทานได้อีกมื้อ
2. ปริมาณข้าวต้องเหมาะสมกับขนาดหม้อ เชน ไม่หุงข้าวน้อยๆในหม้อใหญ่
มีเหตุผล
1. หุงข้าวเมือเวลาจะรับประทานข้าว แต่ถ้าข้าวเหลือจากมื้อทีแล้วก้อไม่จำเป็นต้องหุงอีก
2. ไม่หุงข้าวมากจนเกินไปในแต่ละครั้ง ควรดูให้เหมาะสมกับจำนวนคน
ภูมิคุ้มกัน
1. ก่อนซื้อควรดูลากเบอร์ 5 ประหยัดไฟ
2. สอบถามการรับประกันให้เข้าใจ
3. ดูยี่ห้อที่ดีมีคุณภาพ อย่าเลือกตามกระแส
4. ตรวจสอบสภาพสินค้าก่อนออกจากร้าน
ความรู้
1. ถ้าไมเข้าใจเรืองการใช้ ควรเปิดคู่มือทีมีมาให้
2. อย่าใช้หม้อหุงข้าวในทางทีไม่ถูกต้อง หรือไมควรทำนอกเหนือจากคู่มือการใช้งาน
3. ถ้าหม้อเกิดชำรุดและยังอยู่ในช่วงการรับประกัน ควรไปติดต่อร้านที่เราซื้อมา ทางร้านจะรับผิดชอบ
คุณธรรม
1. หุงข้าวเผื่อคนทั้งบ้านและคนในครอบครัว ถ้าเหลือคอยนำมาอุนรับประทานอีกมื้อ
โทรทัศน์
พอประมาณ
1. ไม่ควรดูโทรทัศน์ติดต่อกันเป็นเวลานาน
2. ควรนั่งดูกันหลายๆคนในเครื่องเดียว
มีเหตุผล
1. ควรรู้จุดมุ่งหมายในการดู ว่าเราจะดูช่องอะไร รายการอะไร
2. ดูรายการที่มีประโยชน์ มีสาระ หรือบางครั้งอาจดูรายการที่ผ่อนคลายได้ จะได้ไม่เครียดจนเกินไป
ภูมิคุ้มกัน
1. ก่อนซื้อดูลากเบอร์ 5 ประหยัดไฟ
2. ศึกษาหลักประกันให้เข้าใจ
3. เลือกซื้อโทรทัศน์ให้เหมาะกับจำนวนคน ถ้าดูคนเดียวก็ซื้อเครื่องเล็กๆก็ได้ เพื่อการประหยัดไฟ
4. เลือกยี่ห้อที่ดี มีคุณภาพ อย่าดูแต่เฉพาะควาสวยงาม
ความรู้
1. ต้องรู้วิธีการใช้ ถ้าไม่เข้าใจให้เปิดคู่มือการใช้งาน
2. ควรเปิดโทรทัศน์ติดต่อกันเป็นเวลานาน ควรมีเวลาพักเครื่องบ้างเพราะอาจทำให้ชำรุดเร็ว
3. ควรนั่งดูโทรทัศน์ในระยะที่เหมาะสม ถ้านั่งดูใกล้เกินไป อาจทำให้สายตาเสียได้
4. ปิดตัวเครื่องทุกครั้งหลังเลิกใช้งาน
5. ไม่ควรเลื่อนช่องบ่อยๆเพราะจะทำให้เปลืองไฟ
คุณธรรม
1. นั่งดูโทรทัศน์กันหลายๆคน จะได้มีความสุข และประหยัดไฟ
1. ไม่ควรดูโทรทัศน์ติดต่อกันเป็นเวลานาน
2. ควรนั่งดูกันหลายๆคนในเครื่องเดียว
มีเหตุผล
1. ควรรู้จุดมุ่งหมายในการดู ว่าเราจะดูช่องอะไร รายการอะไร
2. ดูรายการที่มีประโยชน์ มีสาระ หรือบางครั้งอาจดูรายการที่ผ่อนคลายได้ จะได้ไม่เครียดจนเกินไป
ภูมิคุ้มกัน
1. ก่อนซื้อดูลากเบอร์ 5 ประหยัดไฟ
2. ศึกษาหลักประกันให้เข้าใจ
3. เลือกซื้อโทรทัศน์ให้เหมาะกับจำนวนคน ถ้าดูคนเดียวก็ซื้อเครื่องเล็กๆก็ได้ เพื่อการประหยัดไฟ
4. เลือกยี่ห้อที่ดี มีคุณภาพ อย่าดูแต่เฉพาะควาสวยงาม
ความรู้
1. ต้องรู้วิธีการใช้ ถ้าไม่เข้าใจให้เปิดคู่มือการใช้งาน
2. ควรเปิดโทรทัศน์ติดต่อกันเป็นเวลานาน ควรมีเวลาพักเครื่องบ้างเพราะอาจทำให้ชำรุดเร็ว
3. ควรนั่งดูโทรทัศน์ในระยะที่เหมาะสม ถ้านั่งดูใกล้เกินไป อาจทำให้สายตาเสียได้
4. ปิดตัวเครื่องทุกครั้งหลังเลิกใช้งาน
5. ไม่ควรเลื่อนช่องบ่อยๆเพราะจะทำให้เปลืองไฟ
คุณธรรม
1. นั่งดูโทรทัศน์กันหลายๆคน จะได้มีความสุข และประหยัดไฟ
คอมพิวเตอร์
พอประมาณ
1. ไม่ควรเปิดๆปิดเครื่องคอมฯบ่อยๆ เพราะจะทำให้เปลืองไฟ
2. ถึงแม้ไม่ควรเปิดๆปิดๆคอมฯบ่อยๆ แต่ก็ไม่ควรเปิดไว้นานเกินไป เพราะจะทำให้เปลืองไฟ
มีเหตุผล
1. มีเหตุผลในการเปิดคอมพิวเตอร์ในแต่ละครั้ง
2. ใช้ในทางที่ดี เช่น ทำงาน ทำการบ้าน
ภูมิคุ้มกัน
1. ดูยี่ห้อเครื่องคอมฯที่ดี และประหยัดไฟและเชื่อถือได้
2. ศึกษาหลักประกันให้เข้าใจ
3. ถ้ามีปัญหาในการใช้งาน ควรติดต่อบริษัทที่เราซื้อมา หรือให้ช่างมืออาชีพซ่อม
4. ใช้คอมฯในทางที่ถูกต้อง ไม่เปิดดูเว็บลามกอนาจาร
5. ไม่ควรนั่งหน้าคอมฯเป็นเวลานาน เพราะจะทำให้สายตาเสีย
6. ป้องกันสายตาโดยหาแผ่นกรองแสงมาใช้
ความรู้
1. ใช้คอมฯอย่างถูกวิธี ใช้ไม่เป็นควรเปิดคู่มือ
2. ถ้ามีข้อสงสัยให้ถามผู้รู้ หรือเปิดคู่มือ
3. มีความรู้เรื่องไวรัสของคอมฯ การป้องกัน และกำจัด
4. ถ้าไม่ได้ใช้งานนานเกิน 15 นาที ควรปิดหน้าจอ เพื่อเป็นการประหยัดไฟ
5. นั่งเล่นคอมฯในที่ที่มีแสงสว่างเพียงพอ
คุณธรรม
1. แบ่งปันกันเล่นคอมฯ เพื่อสร้างความรู้ให้กับผู้อื่น
1. ไม่ควรเปิดๆปิดเครื่องคอมฯบ่อยๆ เพราะจะทำให้เปลืองไฟ
2. ถึงแม้ไม่ควรเปิดๆปิดๆคอมฯบ่อยๆ แต่ก็ไม่ควรเปิดไว้นานเกินไป เพราะจะทำให้เปลืองไฟ
มีเหตุผล
1. มีเหตุผลในการเปิดคอมพิวเตอร์ในแต่ละครั้ง
2. ใช้ในทางที่ดี เช่น ทำงาน ทำการบ้าน
ภูมิคุ้มกัน
1. ดูยี่ห้อเครื่องคอมฯที่ดี และประหยัดไฟและเชื่อถือได้
2. ศึกษาหลักประกันให้เข้าใจ
3. ถ้ามีปัญหาในการใช้งาน ควรติดต่อบริษัทที่เราซื้อมา หรือให้ช่างมืออาชีพซ่อม
4. ใช้คอมฯในทางที่ถูกต้อง ไม่เปิดดูเว็บลามกอนาจาร
5. ไม่ควรนั่งหน้าคอมฯเป็นเวลานาน เพราะจะทำให้สายตาเสีย
6. ป้องกันสายตาโดยหาแผ่นกรองแสงมาใช้
ความรู้
1. ใช้คอมฯอย่างถูกวิธี ใช้ไม่เป็นควรเปิดคู่มือ
2. ถ้ามีข้อสงสัยให้ถามผู้รู้ หรือเปิดคู่มือ
3. มีความรู้เรื่องไวรัสของคอมฯ การป้องกัน และกำจัด
4. ถ้าไม่ได้ใช้งานนานเกิน 15 นาที ควรปิดหน้าจอ เพื่อเป็นการประหยัดไฟ
5. นั่งเล่นคอมฯในที่ที่มีแสงสว่างเพียงพอ
คุณธรรม
1. แบ่งปันกันเล่นคอมฯ เพื่อสร้างความรู้ให้กับผู้อื่น
เตาอบไมโครเวฟ
พอประมาณ
1. ใช้อุ่นอาหารแค่ให้อาหารพอสุก ไมควรอุ่นนานเพราะจะทำให้เปลืองไฟ
2. เวลาอุ่นอาหารควรใช้ไฟปานกลาง
มีเหตุผล
1. อุ่นอาหารทีเราและคนในบ้านจะรับประทานก็พอ
2. ไม่อุ่นอาหารมากจนเกินไป
ภูมิคุ้มกัน
1. ศึกษาหลักการประกันสินค้าให้เข้าใจก่อน
2. ดูยี่ห้อสินค้าที่ดีมีคุณภาพ
3. ก่อนซื้อควรดูฉลากเบอร์ 5 ประหยัดไฟ
4. ตรวจสอบสินค้ากอนออกจากร้าน
ความรู้
1. ศึกษาคู่มือก่อนนำสินค้ามาใช้
2. ถ้าไมโครเวฟชำรุด ควรนำไปซ่อมที่ร้านที่มีช่างมืออาชีพ ถ้ายังอยู่ในการประกันควรติดต่อไปยังร้านที่เราซื้อมาทางร้านจะรับผิดชอบ
3. ไม่ควรใช้ไมโครเวฟในทางที่ผิด ควรใช้ตามหลักคู่มือ
คุณธรรม
1. เราควรอุ่นอาหารเผื่อทุกคนในครอบครัว อุ่นให้พอดีไม่อุ่นมากหรือน้อยเกินไป เพราะจะทำให้เปลืองไฟ
1. ใช้อุ่นอาหารแค่ให้อาหารพอสุก ไมควรอุ่นนานเพราะจะทำให้เปลืองไฟ
2. เวลาอุ่นอาหารควรใช้ไฟปานกลาง
มีเหตุผล
1. อุ่นอาหารทีเราและคนในบ้านจะรับประทานก็พอ
2. ไม่อุ่นอาหารมากจนเกินไป
ภูมิคุ้มกัน
1. ศึกษาหลักการประกันสินค้าให้เข้าใจก่อน
2. ดูยี่ห้อสินค้าที่ดีมีคุณภาพ
3. ก่อนซื้อควรดูฉลากเบอร์ 5 ประหยัดไฟ
4. ตรวจสอบสินค้ากอนออกจากร้าน
ความรู้
1. ศึกษาคู่มือก่อนนำสินค้ามาใช้
2. ถ้าไมโครเวฟชำรุด ควรนำไปซ่อมที่ร้านที่มีช่างมืออาชีพ ถ้ายังอยู่ในการประกันควรติดต่อไปยังร้านที่เราซื้อมาทางร้านจะรับผิดชอบ
3. ไม่ควรใช้ไมโครเวฟในทางที่ผิด ควรใช้ตามหลักคู่มือ
คุณธรรม
1. เราควรอุ่นอาหารเผื่อทุกคนในครอบครัว อุ่นให้พอดีไม่อุ่นมากหรือน้อยเกินไป เพราะจะทำให้เปลืองไฟ
เครื่องปรับอากาศ
พอประมาณ
1. ไม่เปิดนานจนเกินไป ก่อนออกจากห้องประมาณ 5 นาที ควรปิดเครื่องปรับอากาศก่อน
2. เปิดเครื่องปรับอากาศทีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
3. ถ้าไมร้อนมากก็ไมควรเปิดเครื่องปรับอากาศ ควรใช้พัดลมแทน
มีเหตุผล
1. เปิดในเวลาที่เราต้องการใช้ ไม่เปิดทิ้งไว้ เพราะทำให้เปลืองไฟ
2. ถ้าอยู่คนเดียวไม่ควรเปิดเครื่องปรับอากาศ ควรเปิดพัดลมแทน
ภูมิคุ้มกัน
1. ศึกษาหลักประของสินค้าให้เข้าใจก่อน
2. ดูยี่ห้อที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน
3. ก่อนซื้อควรดูฉลากเบอร์ 5 ประหยัดไฟ
4. ควรตรวจสอบสินค้ากอนออกจากร้าน
ความรู้
1. ถ้าไม่เข้าวิธีการใช้งาน ควรศึกษาจากคู่มือหรือสอบถามจากผู้รู้
2. อย่าใช้เครื่องปรับอากาศผิดวิธี หรือนอกเหนือจากคู่มือ
3. ถ้าเครื่องปรับอากาศชำรุด ควรนำไปให้ชงมืออาชีพซ่อม ถ้าสินค้ายังอยู่ในหลักประกันก็ติดต่อไปทางร้าน ทางร้านจะรับผิดชอบ
คุณธรรม
1. เปิดใช้ในเวลาที่มีคนอยู่เยอะๆ
1. ไม่เปิดนานจนเกินไป ก่อนออกจากห้องประมาณ 5 นาที ควรปิดเครื่องปรับอากาศก่อน
2. เปิดเครื่องปรับอากาศทีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
3. ถ้าไมร้อนมากก็ไมควรเปิดเครื่องปรับอากาศ ควรใช้พัดลมแทน
มีเหตุผล
1. เปิดในเวลาที่เราต้องการใช้ ไม่เปิดทิ้งไว้ เพราะทำให้เปลืองไฟ
2. ถ้าอยู่คนเดียวไม่ควรเปิดเครื่องปรับอากาศ ควรเปิดพัดลมแทน
ภูมิคุ้มกัน
1. ศึกษาหลักประของสินค้าให้เข้าใจก่อน
2. ดูยี่ห้อที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน
3. ก่อนซื้อควรดูฉลากเบอร์ 5 ประหยัดไฟ
4. ควรตรวจสอบสินค้ากอนออกจากร้าน
ความรู้
1. ถ้าไม่เข้าวิธีการใช้งาน ควรศึกษาจากคู่มือหรือสอบถามจากผู้รู้
2. อย่าใช้เครื่องปรับอากาศผิดวิธี หรือนอกเหนือจากคู่มือ
3. ถ้าเครื่องปรับอากาศชำรุด ควรนำไปให้ชงมืออาชีพซ่อม ถ้าสินค้ายังอยู่ในหลักประกันก็ติดต่อไปทางร้าน ทางร้านจะรับผิดชอบ
คุณธรรม
1. เปิดใช้ในเวลาที่มีคนอยู่เยอะๆ
พัดลม
พอประมาณ
ไม่ควรเปิดๆปิดๆบ่อยครั้ง
ไม่ควรเปิดเมื่อสภาพอากาศเย็นอยู่แล้ว
ไม่ควรเปิดทิ้งไว้ในขณะที่ไม่มีคนอยู่
ถ้าอากาศไม่ร้อน ควรเปิดหน้าต่างแทนการเปิดพัดลม
มีเหตุผล
มีเหตุผลในการเปิดพัดลมในแต่ละครั้ง
ใช้ผ่อนคลายความร้อน
ภูมิคุ้มกัน
ต้องเลือกยี่ห้อที่ดี มีคุณภาพ
เลือกซื้อพัดลมทีมีเครื่องหมายประหยัดไฟเบอร์ 5
เลือกขนาดที่พอเหมาะกับจำนวนคน
ควรใช้อย่างระมักระวัง
ขณะที่มือเปียกไม่ควรจับปลั๊ก
ความรู้
ใช้พัดลมให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ
ถ้าเกิดมีปัญหา ไม่ควรซ่อมเอง ควรปรึกษาหรือถามผู้รู้
ถ้าไม่ใช้งานควรชักปลั๊กออกทุกครั้ง
คุณธรรม
ถ้าอยู่กัยเป็นจำนวนมากควรกดส่าย เพื่อผู้อื่น ถือเป็นการแบ่งปันและประหยัดพลังงานไปด้วย
ไม่ควรเปิดๆปิดๆบ่อยครั้ง
ไม่ควรเปิดเมื่อสภาพอากาศเย็นอยู่แล้ว
ไม่ควรเปิดทิ้งไว้ในขณะที่ไม่มีคนอยู่
ถ้าอากาศไม่ร้อน ควรเปิดหน้าต่างแทนการเปิดพัดลม
มีเหตุผล
มีเหตุผลในการเปิดพัดลมในแต่ละครั้ง
ใช้ผ่อนคลายความร้อน
ภูมิคุ้มกัน
ต้องเลือกยี่ห้อที่ดี มีคุณภาพ
เลือกซื้อพัดลมทีมีเครื่องหมายประหยัดไฟเบอร์ 5
เลือกขนาดที่พอเหมาะกับจำนวนคน
ควรใช้อย่างระมักระวัง
ขณะที่มือเปียกไม่ควรจับปลั๊ก
ความรู้
ใช้พัดลมให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ
ถ้าเกิดมีปัญหา ไม่ควรซ่อมเอง ควรปรึกษาหรือถามผู้รู้
ถ้าไม่ใช้งานควรชักปลั๊กออกทุกครั้ง
คุณธรรม
ถ้าอยู่กัยเป็นจำนวนมากควรกดส่าย เพื่อผู้อื่น ถือเป็นการแบ่งปันและประหยัดพลังงานไปด้วย
เครื่องหนีบผม
พอประมาณ
1. เมื่อหนีบผมควรหนีบทีละหลายๆคน
2. ไม่ควรปิดระดับไฟแรง
3. หนีบเฉพาะเวลาที่จำเป็น
มีเหตุผล
1. มีเหตุผลในการใช้เครื่องหนีบผมในแต่ละครั้ง
2. ใช้เพื่อความสวยงามให้กับตนเอง
ภูมิคุ้มกัน
1. เลือกยี่ห้อที่ดี มีคุณภาพ
2. เลือกดูยี่ห้อที่สามารถปรับระดับความร้อนได้
3. เลือกลักษณะของเครื่องหนีบผมให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้
ความรู้
1. ต้องรุ้วิธีการใช้อย่าถูกต้อง
2. ควรใช้อย่างระมัดระวังเพื่อความปลอดภัย
3. เมื่อเลิกใช้งานควรชักปลั๊กอออก
4. เมื่อใกล้เสร็จควรปิดเครื่องหนีบก่อน เพื่อประหยัดไฟ
5. ไม่ควรรองด้วยพลาสติก เพราะจะเกิดอันตรายได้
ความรู้
1. ใช้อย่างถูกวิธี ดูวิธืการทำงานเป็นคู่มือ
2. ถ้าเกิดปัญหา ควรปรึกษาผู้รู้
คุณธรรม
1. ควรใช้เครื่องหนีบอย่างพอประมาณ
1. เมื่อหนีบผมควรหนีบทีละหลายๆคน
2. ไม่ควรปิดระดับไฟแรง
3. หนีบเฉพาะเวลาที่จำเป็น
มีเหตุผล
1. มีเหตุผลในการใช้เครื่องหนีบผมในแต่ละครั้ง
2. ใช้เพื่อความสวยงามให้กับตนเอง
ภูมิคุ้มกัน
1. เลือกยี่ห้อที่ดี มีคุณภาพ
2. เลือกดูยี่ห้อที่สามารถปรับระดับความร้อนได้
3. เลือกลักษณะของเครื่องหนีบผมให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้
ความรู้
1. ต้องรุ้วิธีการใช้อย่าถูกต้อง
2. ควรใช้อย่างระมัดระวังเพื่อความปลอดภัย
3. เมื่อเลิกใช้งานควรชักปลั๊กอออก
4. เมื่อใกล้เสร็จควรปิดเครื่องหนีบก่อน เพื่อประหยัดไฟ
5. ไม่ควรรองด้วยพลาสติก เพราะจะเกิดอันตรายได้
ความรู้
1. ใช้อย่างถูกวิธี ดูวิธืการทำงานเป็นคู่มือ
2. ถ้าเกิดปัญหา ควรปรึกษาผู้รู้
คุณธรรม
1. ควรใช้เครื่องหนีบอย่างพอประมาณ
ไดร์เป่าผม
พอประมาณ
1. ใช้เฉพาะเวลาที่จำเป็น
2. ไม่ปลั๊กไว้ เมื่อไม่ใช้งาน
มีเหตุผล
1. มีเหตุผลในการใช้ในแต่ละครั้ง
2. ใช้เพื่อความสวยงามให้กับตนเอง
ภูมิคุ้มกัน
1. ควรเลือกยี่ห้อที่ดี มีคุณภาพ
2. เลือกขนาด ลักษณะ ที่พอเหมาะกับผู้ใช้
3. เลือกใช้อย่างระมัดระวัง
4. ไม่ควรจับปลั๊กเมื่อมือเปียกเพราะจะเกิดอันตรายได้
ความรู้
1. ใช้อย่างถูกวิธื
2. ศึกษาวิธีการทำงานในคู่มือ
3. ใช้ให้ให้เหมาะสมกับงาน
4. เมื่อเกิดปัญหา ควรปรึกษาผู้รู้ หรือนำไปซ่อมทางร้านซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า
คุณธรรม
1. ควรแบ่งปันผู้อื่น เมื่อไดร์เสร็จแล้ว
1. ใช้เฉพาะเวลาที่จำเป็น
2. ไม่ปลั๊กไว้ เมื่อไม่ใช้งาน
มีเหตุผล
1. มีเหตุผลในการใช้ในแต่ละครั้ง
2. ใช้เพื่อความสวยงามให้กับตนเอง
ภูมิคุ้มกัน
1. ควรเลือกยี่ห้อที่ดี มีคุณภาพ
2. เลือกขนาด ลักษณะ ที่พอเหมาะกับผู้ใช้
3. เลือกใช้อย่างระมัดระวัง
4. ไม่ควรจับปลั๊กเมื่อมือเปียกเพราะจะเกิดอันตรายได้
ความรู้
1. ใช้อย่างถูกวิธื
2. ศึกษาวิธีการทำงานในคู่มือ
3. ใช้ให้ให้เหมาะสมกับงาน
4. เมื่อเกิดปัญหา ควรปรึกษาผู้รู้ หรือนำไปซ่อมทางร้านซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า
คุณธรรม
1. ควรแบ่งปันผู้อื่น เมื่อไดร์เสร็จแล้ว
ตู้เย็น
พอประมาณ
1. ไม่ควรเปิดๆปิดๆเล่น
2. ไม่ควรนำนำของต่างๆ ใสถุงพลาสติกแล้วแช่ เพราะจะทำให้เปลืองพลังงานในการให้ความเย็น
3. ไม่ควรนำของใส่ในตู้เย็นจนมากเกินไป
มีเหตุผล
1. มีเหตุผลในการเปิดตู้เย็นในแต่ละครั้ง
2. เปิดเวลาที่จำเป็น
3. ช่วยเพิ่มความสด ให้กับผักและผลไม้
ภูมิคุ้มกัน
1. เลือกยี่ห้อที่มีคุณภาพ ไม่มีรอยชำรุด
2. เลือกตู้เย็นที่มีเครื่องหมายประหยัดไฟเบอร์ 5
3. เลือกขนาดให้เหมาะสมกับจำนวนคนในครอบครัว
4. ไม่ควรเปิดค้างไว้เป็นเวลานาน
5. ไม่ควรนำของร้อนไปแช่ในตู้เย็น
ความรู้
1. ใช้ตู้เย็นอย่างถูกวิธี
2. เมื่อตู้เย็นมีปัญหาควรปรึกษาผู้รู้หรือดูคู่มือ
3. ควรตั้งตู้เย็นให้ห่างจากผนังบ้านประมาณ 15 เซนติเมตร
คุณธรรม
1. แช่ขนม ผัก หรืออาหารเผื่อผู้อื่น ถือเป็นการแบ่งปันซึ่งกันและกัน
1. ไม่ควรเปิดๆปิดๆเล่น
2. ไม่ควรนำนำของต่างๆ ใสถุงพลาสติกแล้วแช่ เพราะจะทำให้เปลืองพลังงานในการให้ความเย็น
3. ไม่ควรนำของใส่ในตู้เย็นจนมากเกินไป
มีเหตุผล
1. มีเหตุผลในการเปิดตู้เย็นในแต่ละครั้ง
2. เปิดเวลาที่จำเป็น
3. ช่วยเพิ่มความสด ให้กับผักและผลไม้
ภูมิคุ้มกัน
1. เลือกยี่ห้อที่มีคุณภาพ ไม่มีรอยชำรุด
2. เลือกตู้เย็นที่มีเครื่องหมายประหยัดไฟเบอร์ 5
3. เลือกขนาดให้เหมาะสมกับจำนวนคนในครอบครัว
4. ไม่ควรเปิดค้างไว้เป็นเวลานาน
5. ไม่ควรนำของร้อนไปแช่ในตู้เย็น
ความรู้
1. ใช้ตู้เย็นอย่างถูกวิธี
2. เมื่อตู้เย็นมีปัญหาควรปรึกษาผู้รู้หรือดูคู่มือ
3. ควรตั้งตู้เย็นให้ห่างจากผนังบ้านประมาณ 15 เซนติเมตร
คุณธรรม
1. แช่ขนม ผัก หรืออาหารเผื่อผู้อื่น ถือเป็นการแบ่งปันซึ่งกันและกัน